บันทึกอนุทิน
Date 21 November 2014
Science Experiences Management For Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
Knowledge
กิจกรรมที่1 ส่งของเล่นวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่2 การนำเสนองานวิจัย-โทรทัศน์ครู
1 นำเสนองานวิจัยเรื่อง ผลการจัดประสบการณ์เน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ ชั้นอนุบาลปีที่2
ความสำคัญของการวิจัย
ในการวิจัยโดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของชั้นอนุบาลปีที่2 เป็นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ให้โอกาสเด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการเรียนรู้ซึ่งเป็นลักษณะของการใช้ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จะสามารถส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ได้
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การสังเกต
2 การจำแนก
3 การวัด
4 การลงความเห็น
2 นำเสนองานวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้ ชั้นอนุบาล2
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1 พัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้ชั้นอนุบาลปีที่2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
2 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียน
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การจำแนก
2 การวัด
3 การลงความเห็น
3 การนำเสนอวิจัยเรื่อง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน :เพิ่มเติม
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1 ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังเรียนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความสำคัญ
เป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนและเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนและจัดกิจกรรม
ตัวอย่างหน่วย
1 แว่นขยายห็นชัดเจน
1.1 ให้เด็กสำรวจสิ่งแวดล้อม
1.2 ให้แว่นขยายเพื่อให้เด็กไปสำรวจ
1.3 ให้เด็กศึกษารายละเอียดของสิ่งที่นำมา
1.4 ครูใช้คำถาม
1.5 ให้เด็กวาดภาพสิ่งที่เด็กๆไปสำรวจ
1.6 นำออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง
4 นำเสนองานวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร :เพิ่มเติม
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการทดลองการจัดกิจกรรม
2 เพื่อความเปรียบเทียบระดับของระดับทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
ความสำคัญ
การจัดกิจกรรมทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพรเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เด็กจะได้เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการสังเกต ทดลอง สัมผัส ดมกลิ่น ชิมรสอาหาร ในขณะที่ดำเนินกิจกรรมทำน้ำสมุนไพร เด็กได้สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาหาร เรียนรู้การเปรียบเทียบการชั่ง ตวง วัด และได้เรียนรู้กระบวนการทำงานทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ การเข้าใจเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ จนสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาความคิดและการสื่อความหมาย การจัดกิจกรรมทำน้ำเครื่องดื่มสมุนไพรทำให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐาานทางวิทยาศาสตร์ รู้จักคุณประโยชน์ของอาหารและโภชนาการ เรียนรู้การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ทักษะที่เด็กได้รับ
1การสังกต
2การวัด
3การจำแนก
4การสรุปข้อมูล
วิธีการสอน
ขั้นนำ
นำเข้าสู่กิจกรรมด้วยเพลง คำคล้องจองปริศนาคำทายและสื่อต่างๆ
ขั้นสอน
1. ครูแนะนำวัสดุอุปกรณ์
2. ครูแนะนำกิจกรรมการทำน้ำฝรั่ง พร้อมวิธีการทำอย่างละเอียด
3. ครูและด็กร่วมกนทำน้ำฝรั่ง
4. ครูและเด็กร่วมกันรับประทานน้ำฝรั่ง
ขั้นสรุป
1. ครูใช้คำถามกับเด็ก
2. ครูและเด็กร่วมกันสรุปวิธีการทำน้ำฝรั่ง
นำเสนอโทรทัศน์ครู
1 ชื่อเรื่อง กิจกรรมส่องนกในโรงเรียน
เด็กจะได้สัมผัสกับธรรมชาติ สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว การให้อาหารนกรู้ลักษณะต่างๆของนก
วิธีการสอน
ขั้นนำ
เด็กๆเรียนรู้ชื่อนกและลักษณะของนกจากครู
ขั้นสอน
1ครูให้เด็กไปสำรวจนก
2เด็กส่งนกพร้อมกับจดบันทึก
ขั้นสรุป
ครูและเด็กร่วมกันสรุปนกที่ได้พบเจอมา
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การสังเกต
2 การจำแนก
3การสื่อความหมาข้อมูล
4การลงความเห็น
2 ชื่อเรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
การสอนให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ คือ ต้องสอนให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต มีความรอบคอบ ละเอียดถี่ถ้วน ครูต้องมีวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ที่ทำให้เด็กเห็นว่ามันไม่ใช่เรื่องน่าเบื่อ เรียนสนุก เกิดความอยากรู้อยากเห็นและเกิดความสงสัย ประเมินเด็กจากการสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่ามีการสังเกตสิ่งต่างๆมากขึนหรือไม่สนใจในสิ่งต่างๆรอบตัวหรือเปล่า
3 ชื่อเรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
หลักการสอน สอนให้สนุก สอนเรื่องที่ไม่ไกลตัวเด็ก เน้นการทดลอง เพื่อให้เด็กได้ลงมือกระทำจะทำให้เด็กไม่ลืม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเสียง ให้เด็กได้เรีนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้เด็กได้แสดงความสามารถทางด้านดนตรี หรือโชว์สื่อที่มีเสียงให้เด็กตื่นตาตื่นใจคือ ไก่กระตาก กระป๋องร้องได้ หลังจากลองให้เด็กเล่นครูใช้คำถามถามเด็กว่าเกิดเสียงขึ้นได้อย่างไร
1 นำเสนองานวิจัยเรื่อง ผลการจัดประสบการณ์เน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ ชั้นอนุบาลปีที่2
ความสำคัญของการวิจัย
ในการวิจัยโดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของชั้นอนุบาลปีที่2 เป็นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ให้โอกาสเด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการเรียนรู้ซึ่งเป็นลักษณะของการใช้ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จะสามารถส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ได้
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การสังเกต
2 การจำแนก
3 การวัด
4 การลงความเห็น
2 นำเสนองานวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้ ชั้นอนุบาล2
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1 พัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้ชั้นอนุบาลปีที่2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
2 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียน
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การจำแนก
2 การวัด
3 การลงความเห็น
3 การนำเสนอวิจัยเรื่อง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน :เพิ่มเติม
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1 ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังเรียนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความสำคัญ
เป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนและเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนและจัดกิจกรรม
ตัวอย่างหน่วย
1 แว่นขยายห็นชัดเจน
1.1 ให้เด็กสำรวจสิ่งแวดล้อม
1.2 ให้แว่นขยายเพื่อให้เด็กไปสำรวจ
1.3 ให้เด็กศึกษารายละเอียดของสิ่งที่นำมา
1.4 ครูใช้คำถาม
1.5 ให้เด็กวาดภาพสิ่งที่เด็กๆไปสำรวจ
1.6 นำออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง
4 นำเสนองานวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร :เพิ่มเติม
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการทดลองการจัดกิจกรรม
2 เพื่อความเปรียบเทียบระดับของระดับทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
ความสำคัญ
การจัดกิจกรรมทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพรเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เด็กจะได้เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการสังเกต ทดลอง สัมผัส ดมกลิ่น ชิมรสอาหาร ในขณะที่ดำเนินกิจกรรมทำน้ำสมุนไพร เด็กได้สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาหาร เรียนรู้การเปรียบเทียบการชั่ง ตวง วัด และได้เรียนรู้กระบวนการทำงานทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ การเข้าใจเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ จนสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาความคิดและการสื่อความหมาย การจัดกิจกรรมทำน้ำเครื่องดื่มสมุนไพรทำให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐาานทางวิทยาศาสตร์ รู้จักคุณประโยชน์ของอาหารและโภชนาการ เรียนรู้การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ทักษะที่เด็กได้รับ
1การสังกต
2การวัด
3การจำแนก
4การสรุปข้อมูล
วิธีการสอน
ขั้นนำ
นำเข้าสู่กิจกรรมด้วยเพลง คำคล้องจองปริศนาคำทายและสื่อต่างๆ
ขั้นสอน
1. ครูแนะนำวัสดุอุปกรณ์
2. ครูแนะนำกิจกรรมการทำน้ำฝรั่ง พร้อมวิธีการทำอย่างละเอียด
3. ครูและด็กร่วมกนทำน้ำฝรั่ง
4. ครูและเด็กร่วมกันรับประทานน้ำฝรั่ง
ขั้นสรุป
1. ครูใช้คำถามกับเด็ก
2. ครูและเด็กร่วมกันสรุปวิธีการทำน้ำฝรั่ง
นำเสนอโทรทัศน์ครู
1 ชื่อเรื่อง กิจกรรมส่องนกในโรงเรียน
เด็กจะได้สัมผัสกับธรรมชาติ สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว การให้อาหารนกรู้ลักษณะต่างๆของนก
วิธีการสอน
ขั้นนำ
เด็กๆเรียนรู้ชื่อนกและลักษณะของนกจากครู
ขั้นสอน
1ครูให้เด็กไปสำรวจนก
2เด็กส่งนกพร้อมกับจดบันทึก
ขั้นสรุป
ครูและเด็กร่วมกันสรุปนกที่ได้พบเจอมา
ทักษะที่เด็กได้รับ
1 การสังเกต
2 การจำแนก
3การสื่อความหมาข้อมูล
4การลงความเห็น
2 ชื่อเรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
การสอนให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ คือ ต้องสอนให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต มีความรอบคอบ ละเอียดถี่ถ้วน ครูต้องมีวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ที่ทำให้เด็กเห็นว่ามันไม่ใช่เรื่องน่าเบื่อ เรียนสนุก เกิดความอยากรู้อยากเห็นและเกิดความสงสัย ประเมินเด็กจากการสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่ามีการสังเกตสิ่งต่างๆมากขึนหรือไม่สนใจในสิ่งต่างๆรอบตัวหรือเปล่า
3 ชื่อเรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
หลักการสอน สอนให้สนุก สอนเรื่องที่ไม่ไกลตัวเด็ก เน้นการทดลอง เพื่อให้เด็กได้ลงมือกระทำจะทำให้เด็กไม่ลืม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเสียง ให้เด็กได้เรีนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้เด็กได้แสดงความสามารถทางด้านดนตรี หรือโชว์สื่อที่มีเสียงให้เด็กตื่นตาตื่นใจคือ ไก่กระตาก กระป๋องร้องได้ หลังจากลองให้เด็กเล่นครูใช้คำถามถามเด็กว่าเกิดเสียงขึ้นได้อย่างไร
กิจกรรมที่3 Cooking : สูตรการทำขนมวาฟเฟิล
อาจารย์แนะนำอุปกรณ์และวิธีการทำ
อาจารย์สาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง
เตรียมไส้วาฟเฟิล
ลงมือปฏิบัติ
เมื่อวาฟเฟิลสุกแล้ว
วาฟเฟิลของหนู
What will further developed
การสอนให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ คือ ต้องสอนให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต มีความรอบคอบ ละเอียดถี่ถ้วน ครูต้องมีวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ที่ทำให้เด็กเห็นว่ามันไม่ใช่เรื่องน่าเบื่อ เรียนสนุก เกิดความอยากรู้อยากเห็นและเกิดความสงสัย สอนเรื่องที่ไม่ไกลตัวเด็ก เน้นการทดลอง เพื่อให้เด็กได้ลงมือกระทำจะทำให้เด็กไม่ลืม
Evaluation
Me
ตั้งใจและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม พยายามจดเนื้อหาที่สำคัญจากเพื่อนนำเสนองานวิจัยและนำเสนอบทความ สนุกกับการขนมวาฟเฟิล
Friends
เพื่อนๆบางคนไม่ฟังคำสั่งอาจารย์ในขณะที่ทำกิจกรรม ทำให้เสียเวลาและเกิดความวุ่นวาย แต่เพื่อนบางคนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทุกคนสนุกสนานและตื่นเต้นกับการทำกิจกรรมในครั้งนี้มาก
Teachers
ชอบเทคนิคการสอนของอาจารย์ เพราะมีเทคนิคการสอนที่หลากหลายไม่จำเจ มีการให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติ ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น ขณะทำกิจกรรมหรือสอนทุกครั้งอาจารย์จะบอกเทคนิคต่างๆ เช่น การสอนเด็กทำCooking ครูต้องบอกข้อตกลงในทำกิจกรรมก่อน จากนั้นอธิบายอุปกรณ์ วิธีการทำและข้อควรระวังในการทำกิจกรรม จากนั้นครูสาธิตวิธีการทำให้เด็กๆดู แล้วครูกับเด็กๆทำกิจกรรมพร้อมกัน สุดท้ายให้เด็กออกมาสรุปและพูดความรู้สึกเกี่ยวกับการทำกิจกรรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น